บันทึกการเรียนครั้งที่16

อังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556

อาจารย์นัดวันสอบปลายภาค นอกตาราง
นัดวันเวลากีฬาสีเอก
พูดเรื่องวันเวลาการไปดูงาน
อาจารย์ให้เขียนทักษะการเรียนที่ได้รับ และการสอน

บันทึกการเรียนครั้งที่15

อังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556

สอบสอนเรื่องส่วนต่างๆของร่างกายภายนอก
อาจารย์คอมเมน
  •   เรื่องการเขียนกระดาน
  •   การแสดงความสัมพันธ์
  •   การจัดเตรียมสื่อการสอน

บันทึกการเรียนครั้งที่14

อังคารที่5 กุมภาพันธ์ 2556

อาจารย์ถามความคืบหน้าของกิจกรรมงานวันพุธ
  •        เพื่อนสอบสอนเรื่องกระดุม
  •        การนำเข้าสู่บทเรียน
  •      นิทาน
  •      เพลง
 

บันทึกการเรียนครั้งที่13

อังคารที่ 25 มกราคม 2556

  • อาจารย์พูดเรื่องกีฬาสีเอก
  • กิจกรรมการแสดงวันพุธ
  •  คิดการแสดง
  •  แบ่งหน้าที่การทำงานของแต่ละคน
  •  รำ 
  • ร้องเพลง
  • โฆษณา    
  • พิธีกร
  • การแสดง  
  • ผู้กำกับหน้าหม้า
  • อาจารย์นำกิจกรรมวันพุธประยุกต์ให้เป็นรูปแบบการสอนคณิต

บันทึกการเรียนครั้งที่12

อังคารที่ 22 มกราคม 2556

  • เพื่อนสอบสอน
  • การแยกเป็นพื้นฐานของการบวก,ลบ
  • การติดตัวเลขแทนค่ารูป ให้ติดอยู่ที่รูปอันสุดท้าย
  • สอนลักษณะให้เด็กได้สัมผัส และสังเกต

บันทึกการเรียนครั้งที่11

อังคารที่ 15 มกราคม 2556

  • สนทนาเรื่องการสอน
  • เพื่อนออกมาสอนเรื่องขนมไทย
  • อาจารย์แนะและคอมเม้น การสอน
  • การติดตัวเลข
  • การแยกประเภท

บันทึกการเรียนครั้งที่10

ส่งดอกไม้ ที่อาจารย์มอบหมายให้ทำ
อาจารย์พูดเรื่องสาระต่างๆที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์

บันทึกการเรียนครั้งที่9

อังคารที่ 1 มกราคม 2555
 ไม่มีการเรียน เนื่องจากหยุดปีใหม่

บันทึกการเรียนครั้งที่8

อังคารที่25 ธันวาคม 2555

ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากสอบกลางภาค

บันทึกการเรียนครั้งที่7

อังคารที่18ธันวาคม2555
ไม่มีการเรียนการสอน อาจารย์ให้นักศึกษา ศึกษาข้อมูลนอกห้องเรียน

บันทึกการเรียนครั้งที่6

อังคารที่ 11 ธันวาคม 2555
1.การศึกษาดูงานต่างจังหวัด
2.ให้ส่งงานที่อาจารย์สั่ง (แผนการจัดประสบการณ์)อยากให้กล่องเป็นอะไร
3.ให้ทุกคนหยิบกล่องขึ้นมาดู โดยอาจารย์ใช้คำถามว่า
- เห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร
- อยากให้กล่องเป็นอะไร
- จะเอากล่องไปทำอะไรได้บ้าง
4.การทำสื่อ
- ต้องมีหลักว่าจะทำอะไร
- ประหยัด
- ใช้ได้หลายๆครั้ง
- การประยุกต์วัสดุต่างๆ
5.การกำหนดสาระการเรียนรู้ต่าง
- ใกล้ตัวเด็ก
- เด็กสนใจ
- มีความสัมพันธ์กับเด็ก
- เชื่อมโยงกับหลักสูตร
6.การต่อกล่องเด็กได้อะไรบ้าง
- การแก้ปัญหา
- การคิด
- การเชื่อมโยง
7.ให้ทุกคน นำแกนทิชชูมาตัดเป็น 3 ชิ้น แล้วห่อด้วยกระดาษสี 3สี (สีเหลือง สีส้ม สีชมพู) และตัดกระดาษแข็งเป็นรูปดอกไม้มาติดที่แกนทิชชูแล้วเจาะรู
 
 
 

บันทึกการเรียนครั้งที่5

วันที่ 4 ธันวาคม 2555
-อาจารย์ดูงานที่สั่งเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
-อาจารย์สั่งงานให้สอนเดี่ยว โดยในสมาชิกในกลุ่มตกลงเลือกสอนคนละ 1 วัน
การเขียนแผนการสอนและการสอน
ขั้นนำควรจะนำด้วยเพลง นิทาน เกม
การสอนควรสอนให้เป็นลำดับขั้นตอนบางวัน
เรื่องชนิด>นับจำนวน>เอาตัวเลขมาแทนค่า
>แยกประเภท>เปรียบเทียบ>วัด
มีการใช้สัญลักษณ์
เด็กแรกเกิด-2ปีใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
2-4  ใช้ภาษา ,มีลำดับ
4-6  พูดเป็นประโยคที่คนเข้าใจเหตุผล

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่4


วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน
- อาจารย์ แจกกระดาษให้เขียนมายเเม็มหน่วย
ของตัวเอง
- อาจารย์ให้กลุ่มเพื่อนออกไปนำเสนองานที่สั่งเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
หัวข้อที่นำเสนอ
หน่วย นาฬิกา
1.นับ
มีนาฬิกาอยู่ในบ้านกี่เรือน
2.ตัวเลข
เลข 9 อยู่ใกล้เลขอะไรในนาฬิกา
3.ประเภท
นำนาฬิกาที่เป็นดิจิตอลไปวางบนโต๊ะและนำนาฬิกาแบบเข็มไปแขวน
4.เปรียบเทียบ
นาฬิกาตั้งโต๊ะกับนาฬิกาข้อมืออันไหนใหญ่กว่ากัน
5.เรียงลำดับ
เรียงตัวเลขจากน้อยไปหามาก
6.รูปทรงและเนื้อที่
นาฬิกาในบ้านมีรูปทรงอะไรบ้าง
7.การวัด
นาฬิกามีน้ำหนักเท่าไร
8.จับคู่
นำนาฬิกาดิจิตอลไปใส่ในกล่องรูปดาว
9.เซต
นาฬิกาแขวนฝาผนังและนาฬิกาข้อมือ
ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่ทำจากไม้
10.เศษส่วน
มีนาฬิกา10เรือนแบ่งเป็นสองส่วนเท่าๆกัน
11.การทำตามแบบ
ให้เด็กวาดรูปนาฬิกาในกรอบสี่เหลี่ยม
12.การอนุรักษ์
เมื่อเวลาผ่านไปทรายในนาฬิกายังเท่าเดิม


บันทึกการเรียนครั้งที่3


วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน 2555

ส่งงานที่สั่งเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
เกณฑ์ในการแบ่งประเภท
-  สี
 -  ขนาด                                                 
 -  ลักษณะ
 -  การใช้งาน
-  รูปทรง
 -  พื้นผิว
 -  วัสดุที่ใช้
-  ประโยชน์
    มีประโยชน์ในตัวมันเอง
   มีประโยชน์ในการประยุกต์ใช้
-  เพื่อนออกมาร้องเพลง โปเล โปลา
        โปเล่ โปเล โปเล โปลา
โปลา โปลา โปเล เด็กน้อย
ยื่น 2 แขนมา มือซ้ายขวา
ทำเป็นคลื่นทะเล ปลาวาฬ
พ่นน้ำเป็นฝอย ปลาเล็กปลาน้อย
ว่ายตามมา ปาวาฬนับ 123
ใครว่ายน้ำตามปลาวาฬจับตัว
จากเพลงนี้ได้คณิตศาสตร์
-   การนับ123
-  ทิศทาง ,ตำแหน่งซ้าย ขวา

บันทึกการเรียนครั้งที่2


วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน 2555
ภาษา+คณิตศาสตร์  =  เครื่องมือในการถ่ายทอด
การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
            การวางแผน
           การสร้างตัวแทน
           รอบคอบ

การจัดประสบการณ์
- เทียบเคียงให้อยู่ในชีวิตประจำวันให้อยู่บนหลักการของคณิตศาสตร์
- การสอนควรเป็นลำดับขั้นตอน
            เด็กเรียนรู้ตามแบบอย่าง(การเลียนแบบ)
            ครูควรจัดเพียงเกณฑ์เดียวเพื่อให้เด็กจัดลำดับได้ง่าย
การบูรณาการณ์
- เพลง สื่อในการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหว
- เกมการศึกษา
- จับคู่ = ภาพเหมือน การต่อโดยใช้ปลาย
- เรียงลำดับ
- เกมกลางแจ้ง
- กิจกรรมเสรี

บันทึกการเรียนครั้งที่1



วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน 2555

- อาจารย์ตั้งข้องตกลงในชั้นเข้าเรียน
- อาจารย์พูดเรื่องการสร้างบล็อก
- วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ว่าควรเรียนรู้อะไรบ้าง